วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 6



บันทึกอนุทิน

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
Child  care of Early Childhood with Special Need
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  23 กันยายน 2557 ครั้งที่ 6
เวลาเข้าสอน 12:20น. เวลาเรียน 12:20น. เวลาเลิกเรียน 15:00 น.


การเรียนวันนี้อาจารย์ได้สอนถึงเรื่อง ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เกี่ยวกับเรื่อง     
 1.เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา(Children  with  Speech and Language Disorders)
2. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ(Children with Physical and Health Impairments)

จึงสรุป Mind Map ได้ดังนี้






การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน

  • การนำความรู้ไปบอกต่ออาจจะไปเพื่อน ผู้ปกครอง หรือผู้ที่ดูแลเด็กว่าหากเขาเป็นโรคลมชักจะมีปฐมพยาบาลเริ่มต้นอย่างไรให้ปลอดภัย
  • การความรู้ไปใช้สังเกตพฤติกรรมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่าถ้าเขาเป็นเด็กพิเศษกลุ่มไหนเราจะได้ดูแลเขาได้ถูกวิธี
  • การความรู้ไปใช้ในการฝึกสอนในอนาคตเพราะว่าเดี๋ยวนี้เด็กพิเศษที่อยู่ในกลุ่มนี้ก็มีไม่น้อยเราควรจะสังเกตเด็กเป็นอย่างดีและนำความรู้ไปดูแลเด็กได้และดูแลอย่างใกล้ชิด

การประเมินการเรียนการสอน

  • ประเมินตนเอง :แต่งกายถูกระเบียบมาเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในชั้นเรียน ตั้งใจกับการเรียนการสอนของอาจารย์เป็นอย่างดี
  • ประเมินเพื่อน :ไม่คุยกันเสียงดัง ตั้งใจเรียนมีความสนุกสนานในการเรียนและมีส่วนร่วมกับเนื้อหาของอาจารย์มีการโต้ตอบทำให้การเรียนสนุกมาก
  • ประเมินอาจารย์ : อาจารย์สอนได้ดีมากสอนให้เข้าใจและรู้จริงใช้เทคนิคการสอนโดยการบรรยายและก็มีการทำท่าทางบทบาทสมมติเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นและมีการเล่าประสบการณ์ที่อาจารย์เคยพบเจอให้ฟังซึ่งเป็นสิ่งที่ดีมากค่ะชอบวิธีการสอนที่ไม่เคร่งเครียดแบบนี้ทำให้เรียนสนุกและมีความสุขกับการเรียนรู้ได้








วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 5


บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
Child  care of Early Childhood with Special Need
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  16 กันยายน 2557 ครั้งที่ 5
เวลาเข้าสอน 12:20น. เวลาเรียน 12:20น. เวลาเลิกเรียน 15:00 น.




ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนในวันนี้ สรุปได้ดังนี้….






สรุปการเรียนในวันนี้


        ได้รู้ถึงประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษซึ่งจะมี อยู่ 2 กลุ่มใหญ่ๆคือเด็กที่มีความสามารถสูงกับเด็กที่มีความบกพร่องซึ่งจะมีสาเหตุของปัญหาที่แตกต่างกันออกไปคะ


การนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน

            การนำไปใช้ในการดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษทำให้เราทราบถึงสาเหตุของความผิดปกติทำให้เราสามารถเลือกการดูแลเด็กให้เหมาะสมกับวัยและการเรียนรู้ของเด็กเองและใช้ในการเรียนในปัจจุบันให้ได้มากที่สุดและนำไปใช้ในการเป็นครูในอนาคต


การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง : แต่งกายถูกระเบียบ ให้ความสนใจกับการเรียนการสอน
ประเมินเพื่อน : ตั้งใจเรียน ไม่คุยกันเสียงดัง สนใจในเนื้อหาที่เรียน

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์มีการสอนที่ดีมีการนำสื่อต่างๆมาให้เด็กได้เห็นจริงเช่น วีดีโอเด็กที่มีความต้องการพิเศษหรือเป็นรูปภาพแม้กระทั่งแสดงบทบาทเด็กพิเศษเองหนูชอบมากค่ะทำให้การเรียนไม่เคร่งเครียดเกินไป








บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 4


บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
Child  care of Early Childhood with Special Need
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  9 กันยายน 2557 ครั้งที่ 4
เวลาเข้าสอน 12:20น. เวลาเรียน 12:20น. เวลาเลิกเรียน 15:00 น.

วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนองานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม โดยกลุ่มแรกก็คือกลุ่มของหนูเองได้เด็กชีพี ไปดูกันเลยคะ………

กลุ่มที่ 1 เด็กชีพีสรุปโดยการทำเป็น maid mapping ได้ดังนี้





กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มเด็กแอลดี  ^ - ^        




กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มเด็กดาวซินโดรม  ^ - ^     
     




กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มเด็กสมาธิสั้น  ^ -  




กลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มเด็ก IQ สูง (เด็กปัญญาเลิศ) ^ - ^     





กลุ่มที่ 6 ออทิสติก (Autism )  ^ - ^      



กลุ่มที่ 7  เด็กที่มีความบกพร่องทางอารมณ์  ^ - ^        

  

ในการนำเสนอในวันนี้อาจารย์ก็ให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการประเมินเพื่อนให้คะแนนเพื่อนทุกคนและการนำเสนอในวันนี้ก็ได้รับความรู้มากขึ้นเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

     

การนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน

            การนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการเรียนและการเป็นครูในอนาคตว่าถ้าเจอเด็กแต่ละประเภทเราจะมีวิธีการในการดูแลให้เขามีพัฒนาการที่ดีได้อย่างไร จะส่งเสริมยังไงให้เหมาะสมและนำไปถ่ายทอดความรู้กับบุคคลที่ไม่เข้าใจเกี่ยวกับเด็กพิเศษว่าเขาก็มีความต้องการไม่แตกต่างจากเด็กทั่วไป



การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง : ให้ความร่วมมือในชั้นเรียน แต่งกายถูกระเบียบ เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนตั้งฟังอาจารย์สอน ทำให้การเรียนการสอนสนุกสนานมาก
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนที่ดีมากมีการออกลีลาท่าทางในการสอนดี ยกตัวอย่างได้ดีมากทำให้นักศึกษาได้มีความรู้ที่ดีและเข้าใจในเรื่องที่สอนมากขึ้น












วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557



บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 3


บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
Child  care of Early Childhood with Special Need
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  2 กันยายน 2557 ครั้งที่ 3
เวลาเข้าสอน 12:20น. เวลาเรียน 12:20น. เวลาเลิกเรียน 15:00 น.


 วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ไปร่วมงานของคณะศึกษาศาสตร์และก็ให้นักศึกษาไปร่วมกิจกรรมด้วยถ้าใครไปก็จะได้ปั้มเด็กดีงานนี้ จารุวรรณก็ไม่พลาดคะ  ^ - ^ ”









บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 2


บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
Child  care of Early Childhood with Special Need
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  26 สิงหาคม 2557 ครั้งที่ 2

เวลาเข้าสอน 12:20น. เวลาเรียน 12:20น. เวลาเลิกเรียน 15:00 น.

วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษหนูก็พอจะสรุปการเรียนในวันนี้ได้ดังนี้ ……………..






สรุป    เด็กที่มีความต้องการพิเศษ  หมายถึง
-          เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการช่วยเหลือ และการสอนตามปกติ
-          มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
-          จำเป็นที่จะได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ การบำบัด และการฟื้นฟู
จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล


                             ตัวอย่างภาพเด็กที่มีความต้องการพิเศษ









การนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน

            การนำเอาความรู้ที่ได้รับในการเรียนในครั้งนี้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษนำไปศึกษา ว่ามีสาเหตุมาจากอะไร เราต้องมีวิธีการดูแลอย่างไรในการอบรมเลี้ยงดูให้เขาอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขโดยจะมีการพัฒนาเขาอย่างไรให้เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็ก


การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง : แต่งกายถูกระเบียบ เข้าเรียนตรงเวลาและสนใจในการเรียนการสอน
ประเมินเพื่อน : แต่งกายเรียบร้อย ไม่คุยกันเสียงดังตั้งใจฟังอาจารย์สอน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์แต่งกายเรียบร้อยมาก มีเทคนิคการสอนที่ดีสามารถทำให้นักศึกษาได้เห็นภาพและเข้าใจในเด็กพิเศษแต่ละประเภท



                                                                                                                                                                                   
                                                            






บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 1


บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
Child  care of Early Childhood with Special Need
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  19 สิงหาคม 2557 ครั้งที่ 1

เวลาเข้าสอน 12:20น. เวลาเรียน 12:20น. เวลาเลิกเรียน 15:00 น.


วันนี้เป็นการเรียนวันแรก อาจารย์แจก Course Syllabus และได้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับแนวการสอน และพูดถึง ข้อตกลงในการทำบล็อกและอาจารย์ก็ให้แบ่งกลุ่มและมอบหมายงานให้ไปศึกษาและนำเสนอ  ทั้งหมด 7 กลุ่ม เด็กชีพี เด็กแอลดี เด็กดาวน์ชิมโดรม สมาธิสั้น เด็ก IQ สูง เด็กออทิสติก เด็กที่มีความบกพร่องทางอารมณ์ แล้วอาจารย์ก็ให้แต่ละกลุ่มทำ Mind Mapping เรื่องเด็กพิเศษ โดยให้ทุกคนในกลุ่มออกความคิดเกี่ยวกับเด็กพิเศษแล้วสรุปเป็นความคิดและให้ ออกมานำเสนอหน้าห้องและกลุ่มของหนูก็ทำ Mind Mapping ออกมาเป็นดังนี้






ประโยชน์ที่ได้รับ
1.      การเรียนในวันนี้ทำให้ได้รู้ถึงเด็กที่มีความต้องการพิเศษมีหลายหลายประเภทซึ่งมีวิธีการดูแลต่างๆที่แตกต่างกัน
2.      เข้าใจเกี่ยวกับคำเด็กพิเศษเพิ่มเติมจากที่เพื่อนนำมานำเสนอหน้าชั้นเรียน

การนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
            นำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการเรียนและใช้ในการเป็นครูในอนาคตซึ่งบางครั้งต้องดูแลเด็กพิเศษก็จะนำมาเป็นพื้นฐานในการดูแลเขาให้เหมาะสมกับพัฒนาการและความต้องการของเด็กต่อไปคะ

การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง : แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนตั้งใจฟังอาจารย์สอน และตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์มีการสอนที่ดีคือการที่ให้นักศึกษาได้บอกถึงความรู้เดิมที่ตนเองมีอยู่เกี่ยวกับเด็กพิเศษว่าเข้าใจแบบไหนและให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนในกลุ่มสามารถนำความรู้เดิมกับความรู้ใหม่มาเชื่อมโยงเพื่อความรู้ที่เพิ่มขึ้น